วันพุธที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บริบทชุมชนตำบลบ้านเอื้อม

แผนปฏิบัติงานประจำปี 2559
กศน.ตำบลบ้านเอื้อม


                   อาณาเขต กศน.ตำบลบ้านเอื้อม
                  กศน.ตำบลบ้านเอื้อม อาศัยอยู่ในบริเวณองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเอื้อมมีเนื้อที่บริเวณ กศน.ประมาณ  1.5 ไร่ หมู่ที่ 9 บ้านผึ้ง ตำบลบ้านเอื้อม อำเภอเมืองลำปาง
                 
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ
ติดต่อกับตำบลบ้านค่า 
อำเภอเมืองลำปาง
ทิศใต้
ติดต่อกับตำบลบ้านเป้า 
อำเภอเมืองลำปาง
ทิศตะวันออก
ติดต่อกับตำบลต้นธงชัย
อำเภอเมืองลำปาง
ทิศตะวันตก
ติดต่อกับตำบลวอแก้ว 
อำเภอห้างฉัตร
                           สภาพชุมชน    
                           กศน.ตำบลบ้านเอื้อมอยู่ในเขตชุมชนชนบทกึ่งเมือง ประชากรส่วนใหญ่ทำการเกษตร และรับจ้างเป็นลูกจ้างในเมืองแบบเช้าไปเย็นกลับ
                         สภาพภูมิประเทศ
เป็นที่ราบบริเวณสองฝั่งแม่น้ำตุ๋ย   และมีภูเขาสูงด้านทิศตะวันตก   พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ตุ๋ยฝั่งขวา  ป่าแม่ทรายคำ  และป่าแม่เมาะแปลง   2
                         สภาพภูมิอากาศ
แบ่งออกเป็น  3  ฤดูกาล  ดังต่อไปนี้คือ
-   ฤดูร้อน          ตั้งแต่เดือนมกราคม        ถึง        เดือนเมษายน
-   ฤดูฝน           ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม      ถึง        เดือนสิงหาคม
-   ฤดูหนาว        ตั้งแต่เดือนกันยายน        ถึง        เดือนธันวาคม
จำนวนประชากรและครัวเรือน
จำนวนประชากร   รวม       10,413                คน
- ชาย                    5,200              คน
- หญิง                   5,213               คน
จำนวนครัวเรือน                  3,383               หลัง
ข้อมูลสถานที่
วัด                                  10        แห่ง                                                                         สำนักสงฆ์                             1        แห่ง
สถานีอนามัย                        3          แห่ง
สถานีตำรวจ                         1          แห่ง
ศูนย์เด็กเล็ก                          7          แห่ง
โรงเรียนประถมศึกษา               3          แห่ง                                                                                  โรงเรียนมัธยมศึกษา                 1        แห่ง
ที่ทำการไปรษณีย์ (เอกชน)         1          แห่ง
          กศน.ตำบล                          1        แห่ง
          โรงงานพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์   1         แห่ง

 สภาพทางเศรษฐกิจ
อาชีพ      ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม  เช่น  ทำนา  ทำไร่อ้อย  ทำไร่ถั่วลิสง เป็นต้น   และประกอบอาชีพรับจ้าง
การทำนา
             - พื้นที่การทำนาทั้งหมด   8,306  ไร่  โดยเกษตรกรเป็นเจ้าของ  2,121  ไร่
             - พันธุ์ข้าวที่ปลูก  คือ ข้าวเหนียวพันธุ์  กข  6
             - จำนวนครัวเรือนที่ทำนา  2,844  ครัวเรือน
การทำไร่
             - พื้นที่ทำไร่ทั้งหมด  7,612  ไร่  โดยเกษตรกรเป็นเจ้าของ  7,612    ไร่                    
             - พืชไร่ที่ปลูกส่วนใหญ่เป็น  อ้อย  7,500 ไร่   ถั่ว  120 ไร่
             - จำนวนครัวเรือนที่ทำไร่  252  ครัวเรือน
 การทำสวน
             - พื้นที่ทำสวนทั้งหมด   120   ไร่
             - จำนวนครัวเรือนที่ทำสวน  64  ครัวเรือน
             - พืชสวนที่ปลูกเป็นส่วนใหญ่ คือ มะม่วง  30  ไร่ และ ลำไย 90  ไร่
การเลี้ยงสัตว์เพื่อจำหน่าย
             - ประเภทสัตว์ที่เลี้ยง  วัว ควาย และสุกร
หัตถกรรมในครัวเรือน
             - จำนวนครัวเรือนที่ทำ  65  ครัวเรือน
             - ประเภทหัตถกรรมที่ผลิต  กระดาษสา,กระดาษตะขบป่า
             - รายได้เฉลี่ย  - บาท/เดือน/ครัวเรือน
      
ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความสามารถและประสบการณ์
ที่อยู่
1.พระครูวิมลย์ธรรมคุณากรณ์ 

เจ้าคณะตำบลบ้านเอื้อมเขต2
สามารถถ่ายทอดความรู้
ด้านพระพุทธศาสนา และ
การทำก๊าชชีวภาพจากมูลวัว
ซึ่งท่านได้ทดลองใช้เพื่อ
เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย
ในวัดโดยเกษตรตำบลเป็นผู้ให้คำปรึกษา
วัดบ้านปง หมู่ที่ 3.บ้านเอื้อม
.เมือง จ.ลำปาง
2.นายเสาร์คำ  สมกูล
มีความสามารถในการแต่ง และร้องค่าว จ้อย ซอ
 มีผลงานแต่งไว้มากมายใช้แสดงในวันสำคัญต่างๆ
เรียนรู้เองสามารถถ่ายทอดความรู้ให้เยาวชนที่สนใจ
ในศิลปวัฒนธรรมด้านนี้           

ที่อยู่ บ้านเลขที่ 30 หมู่ 3 ตำบลบ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง

3.นายศรีนวล  กันธิมา
มีความรู้ด้านการอ่านและเขียนภาษาล้านนาเรียนรู้มาจากการบวชเรียนสามารถเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ให้กับนักศึกษาและผู้สนใจในภาษาล้านนา

บ้านเลขที่ 150 หมู่ 15 ต. บ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง
4.นายก๋องคำ  จุมปู  .
ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา  ร้องขวัญ ปัดเป่าโรคภัย เรียนรู้มาจากการบวชเรียนตอนนี้ขาดผู้สืบทอดเพราะผู้ที่จะสืบทอดได้นั้นต้องรักษาศีลอย่างเคร่งครัดจึงจะเรียนได้

บ้านเลขที่ 25 หมู่ 3 ต.บ้านเอื้อม
.เมือง จ.ลำปาง

แหล่งเรียนรู้อื่น

 แหล่งเรียนรู้อื่น
ชื่อ แหล่งเรียนรู้อื่น
ประเภทแหล่งเรียนรู้
ที่ตั้ง
1.ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านผึ้ง
ปราชญ์ชุมชน
เลขที่  169  หมู่ที่   9    บ้านผึ้ง   ตำบลบ้านเอื้อม   อำเภอเมืองลำปางโทรศัพท์    0899994041 
2.กลุ่มผู้สูงอายุบ้านห้วยไร่
ด้านการจักสาน

หมู่ 13ต.บ้านเอื้อม  .เมือง จ.ลำปาง
3.กลุ่มหัตถกรรมกระดาษจากต้นกล้วย
หัตถกรรมในชุมชน
เลขที่  173/2    หมู่ที่ 9 บ้านผึ้ง ตำบลบ้านเอื้อม อำเภอเมืองลำปางโทรศัพท์   084-8106983 

4.โรงเพาะเห็ดฟาร์มในฝัน
ด้านการเกษตร
หมู่ 1 ต.บ้านเอื้อม  .เมือง จ.ลำปาง 
5.กลุ่มสตรีทอผ้า หมู่ 12

แหล่งหัตถกรรม
หมู่ที่ 12   บ้านทุ่งกล้วยใต้  ตำบลบ้านเอื้อม    อำเภอเมืองลำปาง     จังหวัด ลำปาง
6.กลุ่มผู้สูงอายุบ้านห้วยไร่
ด้านการจักสาน

หมู่ 13ต.บ้านเอื้อม  .เมือง จ.ลำปาง
7.วัดบ้านเอื้อม
ด้านภาษา
วัดบ้านเอื้อม หมู่ 1 .บ้านเอื้อม อำเภอเมืองลำปาง
8.โรงเพาะต้นทานตะวันอ่อน
ด้านการเกษตร
หมู่ 1 ต.บ้านเอื้อม  .เมือง จ.ลำปาง 

 ภาคีเครือข่าย
ชื่อ ภาคีเครือข่าย
ที่ตั้ง/ที่อยู่
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเอื้อม
บ้านผึ้ง หมู่ 9.บ้านเอื้อมอ.เมือง จ.ลำปาง
วัดบ้านสัก
บ้านสัก หมู่ 3.บ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง
วัดบ้านเอื้อม
บ้านเอื้อม หมู่ 1.บ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง
โรงเรียนโป่งหลวงวิทยารัชมังคลาภิเษก
บ้านโป่งหลวง หมู่ 15 .บ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง
โรงเรียนวัดบ้านฮ่อง
บ้านฮ่อง หมู่ 8 .บ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง
โรงเรียนวัดบ้านสัก
บ้านสัก หมู่ 3 .บ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บ้านทุ่งกล้วย หมู่ 5.บ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง
และ บ้านสบเฟือง หมู่ 2.บ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง
สถานีตำรวจภูธรบ้านเอื้อม
บ้านทุ่งกล้วย หมู่ 5.บ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง

      การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ ( SWOT  Anaiysis ) ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายในตำบลบ้นเอื้อม       
               จุดแข็ง (สภาพแวดล้อมภายใน)
1.      มีพื้นที่ในการทำการเกษตรอุดมสมบรูณ์ มีพืชผลทางการเกษตรที่หลากหลาย
2.      มีคณะทำงานระดับตำบลที่เข้มแข็ง
3.       มีแหล่งเรียนรู้ทางภูมิปัญญาที่หลากหลาย
4.    แต่ละหมู่บ้านมีชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง
จุดอ่อน (สภาพแวดล้อมภายใน)
1.       มีชาวต่างชาติเข้ามาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากทำให้เกิดปัญหาสุขอนามัยในชุมชน
2.        เยาวชนส่วนใหญ่ละเลยที่จะเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.        เยาวชนบางส่วนมีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด
4.    การว่างงานหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร
โอกาส (สภาพแวดล้อมภายนอก)
1.       มีโรงงานไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขนาดใหญ่ในพื้นที่สามารถสร้างงานสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน
2.       ได้รับการส่งเสริมกลุ่มอาชีพจากองค์กรต่าง ๆ
3.       มีหน่วยงานภาครัฐที่ให้บริการประชาชนที่หลากหลาย
อุปสรรค (สภาพแวดล้อมภายนอก)
1. เป็นชุมชนแบบกึ่งชนบทกึ่งเมืองประชาชนบางส่วนที่ทำงานประจำในเมืองมักไม่ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมส่วนรวมของชุมชน

2. ขาดการกำหนดเป้าหมายร่วมกันของหน่วยงานภาครัฐที่ให้บริการประชาชน


สภาพปัญหา/ความต้องการ
สาเหตุของปัญหา
แนวทางแก้ไขปัญหา
     1.สภาพทางเศรษฐกิจ
    - รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย





    

    - มีค่านิยมการใช้จ่ายที่ฟุ่มเฟือย
    - ใช้จ่ายอย่างไม่ประหยัด
    - ไม่มีการประมาณรายจ่ายในครอบครัว
    - ไม่ทำบัญชีครัวเรือน

   

    -จัดอบรมโครงการจัดการจัดทำบัญชีครัวเรือน
    


    
    2. ปัญหาด้านสังคมและสาธารณะสุข
    - ปัญหาการว่างงานของประชากรวัยแรงงาน

    - ปัญหาด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุและเยาวชน

   -ขาดการการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น


    - ขาดความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ

    - ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว
    - ขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพ

    -ให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีสมัยใหม่มากเกิน


    - จัดอบรมวิชาชีพระยะสั้น


    - โครงส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ


     -ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เพื่อเผยแพร่ให้คนในชุมชนได้เข้าไปใช้แหล่งเรียนรู้และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีภูมิปัญญาของท้องถิ่น
    3. ปัญหาด้านการศึกษา
    - เยาวชนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ

    - ประชากรวัยแรงงานไม่จบการศึกษาภาคบังคับ และบางส่วนเป็นผู้ไม่รู้หนังสือ

    - มีบุตรในวัยเรียน
    - ติดเกมส์ ติดยาเสพติด

    - ติดภารกิจในการทำงาน
    - ไม่เห็นความสำคัญของการศึกษา

    - จัดกิจกรรมรักการอ่าน
    - จัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ
    - จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

    - จัดกิจกรรมรักการอ่าน
    - จัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ
    - จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
     4.ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม
    - มลภาวะทางอากาศ(หมอกควัน





    - การป่า ซังข้าวโพด ซังข้าว
    - ไม่รู้หนังสือ ทำให้เกิดความรู้เท่าไม่ถึงการณ์


    - จัดอบรมการศึกษาต่อเนื่องโดยใช้วัตถุดิบในพื้นที่ประกอบการจัดกิจกรรม เช่นวิชาชีพระยะสั้นการเพาะเห็ดฟาง








  


























บัญชีโครงการตามแผนการปฏิบัตืงานประจำปี 2559
ที่
ชื่องาน/โครงการ/ชื่อกิจกรรม
รหัสบัญชี
เป้าหมาย
พื้นที่ดำเนินการ
งบประมาณ
ห้วงระยะเวลา
หมายเหตุ
(คน)
หมู่ที่
ตำบล
อำเภอ
(บาท)
ดำเนินการ

1
งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน









ผู้ไม่รู้หนังสือ

5
2,12
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มิ.ย 59


ระดับประถมศึกษา

3
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ต.ค. - มิ.ย 59


ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

12
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ต.ค. - มิ.ย 59


ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

35
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ต.ค. - มิ.ย 59











2
งานการศึกษาต่อเนื่อง









2.1งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ









หลักสูตรระยะสั้นไม่เกิน 30 ชั่วโมง









1.การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้

15
7
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มี.ค. 59


2.การทำขนมพื้นบ้าน

15
2
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

เม.ย - มิ.ย. 59


3.การเพาะเห็ดฟาง

15
3
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

เม.ย - มิ.ย. 59


หลักสูตรช่างพื้นฐาน









1.ช่างปูกระเบื้อง

23
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มี.ค.  59


2.2การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต









1.กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต









การส่งเสริมการออกำลังกายผู้สูงอายุ(กลุ่มสนใจ)

16
7
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มี.ค.  59


2.โครงการจัดหลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ

20
3
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ต.ค. - ธ.ค.58


3.โครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

20
2
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มี.ค.  59


2.3การศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ









พอเพียง









1.โครงการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ









พอเพียงด้วยกระบวนการบัญชีครัวเรือน

18
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

เม.ย - มิ.ย. 59


2.4การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมชุมชน









โครงการหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท

2
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

เม.ย - มิ.ย. 59


2.5กิจกรรมการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่









เหมาะสม

20
3
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ต.ค. - ธ.ค.58

3
การศึกษาตามอัธยาศัย









1. โครงการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ชุมชนในตำบล

40/2
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

เม.ย - มิ.ย. 59


2.โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนชุมชน

20
3
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มี.ค.  59


3.โครงการส่งเสริมบ้านหนังสือชุมชน

2,240

1,2,3,4,7
เมืองลำปาง

ต.ค.58 - ก.ย.59






9,10,11





4.โครงการบรรณสัญจร

80/8

1,2,3,4,7
เมืองลำปาง

ต.ค. - มิ.ย 59






9,10,11





5.โครงการชุมชนรักการอ่าน

20
7
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ต.ค. - ธ.ค.58


6.โครงการจัดทำฐานข้อมูล กศน.ตำบล

20
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มี.ค.  59


7.กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน

80
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ต.ค.58 - ก.ย.59

4
โครงการตายยุทธศาสตร์และจุดเน้น









โครงการกีฬา

90
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มิ.ย 59


โครงการติวเข้มเติมความรู้

40
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มิ.ย 59


โครงการสอนภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน

40
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มิ.ย 59


โครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลด้านอาเซียนศึกษา

40
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มิ.ย 59


โครงการลูกเสือ กศน.

90
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง

ม.ค - มี.ค.  59


โครงการอาสายุวกาชาด กศน.

90
9
บ้านเอื้อม
เมืองลำปาง


































                                                                                                                                                      

1 ความคิดเห็น:

  1. ตรวจสอบอีกครั้งว่า ถูกต้องหรือเปล่านะคะ เพราะตอนหลังมีการเปลี่ยนแปลงอีก

    ตอบลบ